รายละเอียดของหลักสูตรระดับปริญญาโท

หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติ หลักสุตรใหม่ปี 2567

โครงสร้างหลักสูตร

PLO (Program Learning Outcome)

PLO1 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติในองค์กร ตามมาตรฐานPLO2 เปรียบเทียบระบบการผลิตเดิมกับระบบการผลิตอัตโนมัติสำหรับการเพิ่มผลผล

PLO3 สร้างกระบวนการวิจัยด้านเทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติสำหรับการเพิ่มผลผลิตขององค์กร

PLO4 มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม          

PLO5 มีคุณธรรม จริยธรรมแสดงถึงการมีจรรยาบรรณนักวิจัย ความอดทน ความรับผิดชอบ

อาชีพหลังสำเร็จการศึกษา :

7.1 นักวิจัยด้านเทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติ

7.2 ผู้บริหารด้านเทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติ

7.3 ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติ

7.4 อาชีพอิสระด้านเทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติ

7.5 ครู อาจารย์ นักวิชาการด้านเทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติ

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1) รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีคุณวุฒิอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต (ค.อ.บ.) ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) เทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม หรือสาขา อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

2) ผู้ที่ไม่อยู่ในเกณฑ์ข้อ 1) ให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

แผนการรับนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี

สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติ

(สำหรับนักศึกษาที่ศึกษา แผน 1 แบบ ก2)

สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติ

(สำหรับนักศึกษาที่ศึกษา แผน 2)


ตารางที่ 1 แสดงความต้องการจำเป็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders’ needs/Input)

ตารางแสดงการวิเคราะห์ความสอดคล้องระะหว่าง PLOs กับ Stakeholders’ needs / Input / Requirements